Latest Posts

กัญชา กัญชง ไม่ใช่ยาแบบ RM ที่จะสั่งกันได้ง่ายๆ

กัญชา กัญชง ไม่ใช่ยาแบบ RM ที่จะสั่งกันได้ง่ายๆ

กัญชา กัญชง ไม่ใช่ยาแบบ RM ที่จะสั่งกันได้ง่ายๆ

กัญชา กัญชง ไม่ใช่ยาแบบ RM ที่จะสั่งกันได้ง่ายๆ

ก่อนอื่นทำความเข้าใจคำว่า RM ก่อน ในใบสั่งยา ปกติจะมีคำสั่งว่าจะจ่ายยาแบบคุ้นเคยกันก็คือ คำว่า RM ก็ย่อมาจาก Repeat Medication ซึ่งหมายถึง ยาเดิมที่ผู้ป่วยเคยใช้กัน

มักมีคำกล่าวในหมู่คนไข้ว่า เวลาเข้าตรวจ ยังนั่งก้นยังไม่สัมผัสเก้าอี้ดีเลย ก็บอกว่า ยาเดิม และถ้าสังเกตในใบสั่งยา ก็มักจะปรากฎตัวหนังสือ RM

นั่นหมายถึง ยาเดิมนะจ๊ะ กินต่อไป จนกว่าจะเจอกันใหม่ครั้งหน้า (more…)

78 ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากน้ำตาล

78 ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากน้ำตาล

ความน่ากลัวในกาฃบริโภค”น้ำตาลมากเกิน”
78 ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากน้ำตาล

ชื่น​ชมที่เขาอธิบายความร้ายกาจของน้ำตาลได้ถึง78อย่าง ทีผ่านมาผู้เขียนบทความระมัดระวัง​ต้องออกความเห็นแบบมีเงื่อนไขว่า​
“หากบริโภคน้ำตาล​มากเกินไป’ ”
ไม่ว่าจะเป็นบทความไทยหรืออังกฤษ

ความน่ากลัวในการบริโภค”น้ำตาลมากเกิน”
78 ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากน้ำตาล (more…)

ระบบเอ็นโดแคนนาบินอยด์ ควบคุมสารอนุมูลอิสระ 3 ตระกูลใหญ่ในร่างกาย

ระบบเอ็นโดแคนนาบินอยด์

ระบบเอ็นโดแคนนาบินอยด์ ควบคุมสารอนุมูลอิสระ 3 ตระกูลใหญ่ในร่างกาย

ระบบเอ็นโดแคนนาบินอยด์ ควบคุมสารอนุมูลอิสระ 3 ตระกูลใหญ่ในร่างกาย

สารอนมูลอิสระ ก็เหมือน ขยะที่เกิดขึ้นในร่างกายของคนเรานั่นละ

เพราะในกิจวัตรประจำวันของคนเรา ล้วนสร้างขยะขึ้นมา เหมือนกับร่างกาย เมื่อมีปฏิกิริยาตั้งแต่ลมหายใจแรกจนถึงลมหายใจสุดท้าย

เข้าไปก็ล้วนเป้นจุดเริ่มสร้างขยะให้ร่างกาย

ซึ่งขยะเหล่านี้ ก็มีหลายประเภทที่ร่างกายสร้างขึ้น ซึ่ง 3 ตระกูลใหญ่ของขยะมีดังนี้

Reactive Oxygen Species หรือ ROS

Reactive Nitrogen Species หรือ RNS

Reactive Aldehyds Formation

ซึ่งสารอนุมูลอิสระเหล่านี้ ล้วนเป็นตัวร้ายที่คอยทำลายร่างกายอย่างช้าๆ เงียบๆ เนียนๆ อยู่เบื้องหลัง
จนทำให้เกิดโรคที่มองเห็นกัน เช่น โรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคภูมิแพ้ และแทบจะทุกโรคมีขยะเหล่านี้เข้าไปเกี่ยวข้องเสมอ

และแน่นอนระบบเอ็นโดแคนนาบินอยด์ก็ควบคุมการเกิดสารอนุมูลอิสระ และควบการสร้างสารต้านอนุมูลอิสระ (เรื่องสารต้านอนุมูลอิสระเขียนไปบางส่วนแล้ว)

ปัจจุบันมีการค้นพบว่า ระบบเอ็นโดแคนนาบินอยด์เข้ามาควบคุมการทำงานของร่างกายในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสารอนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นในร่างกายด้วย

ซึ่งจากภาพประกอบจะเห็นว่า สารอนุมูลอิสระเหล่านี้นำไปสู่การเกิดโรคต่างๆได้ และการทำงานของระบบเอ็นโดแคนนาบินอยด์ ก็ล้วนนำไปสู่การช่วยลดสารอนุมูลอิสระ และช่วยเพิ่มสารต้านอนุมูลอิสระให้เพิ่มขึ้นในร่างกายได้

ซึ่งความสมดุลตรงนี้สำคัญมากเพราะ สามารถทำให้ร่างกายสามารถยืนหยัดต่อสู้กับโรคภัยไข้เจ็บต่างๆได้

และสารไฟโตแคนนาบินอยด์ จากกัญชา กัญชง ก็สามารถออกฤทธิ์ผ่านระบบนี้ได้ และเริ่มมีงานวิจัยออกมามากขึ้น เกี่ยวกับ คุณสมบัติสารต้านอนุมูลอิสระของกัญชา กัญชง โดยเฉพาะในวงการเครื่องสำอาง

กัญชา กัญชง อาจจะเป็นยาต้านอนุมูลอิสระ หรือ อาหารเสริมต้านอนุมูลอิสระ ที่มีติดไว้ทุกบ้านทุกครัวเรือนก็เป็นได้ เพราะชีวิตประจำวันทุกวันนี้ ร่างกายได้รับสารพิษไปกระตุ้นให้เกิดสารอนุมูลอิสระมากจนเกินไปแล้ว

More Science Less Marketing

ภก.พงษ์ศักดิ์ สง่าศรี

อ้างอิงบางส่วนจาก

Oxyradical Stress, Endocannabinoids, and Atherosclerosis. Toxics 2015, 3,481–498.

CB1 and CB2 cannabinoid receptors differentially regulate the production of reactive oxygen species by macrophages.Cardiovasc. Res. 2009, 84, 378–386.

Role of ROS and RNS Sources in Physiological and Pathological Conditions. Oxid. Med. Cell. Longev. 2016, 2016, 1245049.

กัญชา กัญชง แบบสารเดี่ยว ระเบิดเวลาที่อาจรอวันทำลายประชาชนคนใช้ที่โดนหลอกจากคนบางกลุ่ม

กัญชา กัญชง แบบสารเดี่ยว ระเบิดเวลาที่อาจรอวันทำลายประชาชนคนใช้ที่โดนหลอกจากคนบางกลุ่ม

กัญชา กัญชง แบบสารเดี่ยว ระเบิดเวลาที่อาจรอวันทำลายประชาชนคนใช้ที่โดนหลอกจากคนบางกลุ่ม

กัญชา กัญชง แบบสารเดี่ยว ระเบิดเวลาที่อาจรอวันทำลายประชาชนคนใช้ที่โดนหลอกจากคนบางกลุ่ม

สารหลักในกัญชา กัญชง ที่มีการค้นพบและศึกษาถึงความสัมพันธ์ในทางการแพทย์ คือ สาร THC และ สาร CBD ซึ่งสารทั้งสองชนิดนี้ เป็นเพียงสารที่อยู่ในกลุ่มสารอีกนับร้อยชนิดที่เป็นทัพในการเข้าไปมีประโยชน์ต่อร่างกายที่อยู่ในกัญชา กัญชง

ทั้งในด้านเชิงป้องกัน เชิงรักษา เชิงฟื้นฟูสุขภาพในนิยามทางการแพทย์ (more…)

กัญชา กัญชง ทำให้ระดับสารกัญชาตามธรรมชาติในร่างกายเพิ่มขึ้น

กัญชา กัญชง ทำให้ระดับสารกัญชาตามธรรมชาติในร่างกายเพิ่มขึ้น

กัญชา กัญชง ทำให้ระดับสารกัญชาตามธรรมชาติในร่างกายเพิ่มขึ้น

กัญชา กัญชง ทำให้ระดับสารกัญชาตามธรรมชาติในร่างกายเพิ่มขึ้น

สารกัญชาตามธรรมชาติ หรือ สารเอ็นโดแคนนาบินอยด์ที่ร่างกายผลิตขึ้นเองมาใช้นั้น จะมีการถูกทำลายทิ้งไปด้วย ไม่ใช่ว่า ผลิตขึ้นมาแล้ว ร่างกายจะนำไปใช้เองทั้งหมด

ซึ่งเป็นกลไกตามธรรมชาติของร่างกาย และอะไรก็ตามที่ร่างกายคนเราผลิตขึ้นมาใช้เอง เมื่ออายุมากขึ้น ร่างกายก็ผลิตได้น้อยลง ไม่ว่าจะเป็นสารเอ็นโดแคนนาบินอยด์ เช่น สาร AEA หรือ 2-AG ยังรวมถึงคอลลาเจน โคเอ็นไซม์ คิว 10 รวมทั้งกลูตาไธโอน เป็นต้น นั่นละครับ (more…)

กัญชา กัญชง ผู้ควบคุมชะตาของระบบพลังงานในร่างกาย

กัญชา กัญชง ผู้ควบคุมชะตาของระบบพลังงานในร่างกาย

กัญชา กัญชง ผู้ควบคุมชะตาของระบบพลังงานในร่างกาย

กัญชา กัญชง ผู้ควบคุมชะตาของระบบพลังงานในร่างกาย

หลายท่านอาจจะทราบว่า สารไฟโตแคนนาบินอยด์ จากกัญชา กัญชง สามารถลดระดับน้ำตาลในเลือดได้ ซึ่งมีประโยชน์ในผู้ที่มีระดับน้ำตาลที่สูง เหมือนกับ สมุนไพรชนิดอื่นๆ ถ้ามีการใช้อย่างเหมาะสม

แต่วันนี้ ผมนำข้อมูลมาให้ทุกท่านได้เห็นภาพของการทำงานของระบบเอ็นโดแคนนาบินอยด์ กับ ระบบพลังงานในร่างกาย ให็เห็นภาพชัดเจนขึ้น ดังนี (more…)

พาราเซตามอล ยาพิษสามัญประจำบ้าน

📍

พาราเซตามอล ยาพิษสามัญประจำบ้าน

พาราเซตามอล ยาพิษสามัญประจำบ้าน

พาราเซตามอล ยาพิษสามัญประจำบ้าน

Paracetamol Common Household Poisonous Medicine

คนไทยเกือบทุกคน รู้จักยาแก้ปวดลดไข้ ชื่อ พาราเซตามอล และเข้าใจว่า เป็นยาที่ใช้รักษาโรคได้ เพราะเวลามีไข้ กินแล้วไข้หาย พอมีไข้อีกก็กินอีก จนกลายเป็นความเชื่อว่า เวลามีไข้ต้องกินยาพาราเซตามอล

ปัญหาที่คนไทยไม่รู้ก็คือ ยาพาราเซตามอล มีไว้แค่บรรเทาอาการ ไม่ได้ช่วยให้โรคหาย และยังเป็นยาที่มีอันตราย แม้กินเพียงไม่กี่เม็ด ก็อาจก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อตับ และไตได้อย่างรุนแรง (more…)

ยากัญชาสูตรตำรับศุขไสยาศน์

Image may contain: 2 people, text

อภ. จัดส่งยากัญชาสูตรตำรับศุขไสยาศน์ ตามมาตรฐานจัดส่งและความปลอดภัย ให้คลินิกกัญชาการแพทย์แผนไทย ทันเปิดคลินิก 2 ก.ย.นี้

องค์การเภสัชกรรม (อภ.) เร่งจัดส่งกัญชาสูตรตำรับศุขไสยาศน์ ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ที่ผลิตโดยโรงพยาบาลพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร จ.สกลนคร รอบแรกจำนวน 1,500 ซอง ทันเปิดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนไทย ที่จะทยอยเปิดในวันที่ 2 กันยายนนี้ โดยทำการจัดส่งตามมาตรฐานการขนส่งยาเสพติด และตามแนวทางการขนส่งสินค้าที่ดีหรือ GDP และมาตรฐานความปลอดภัยที่ดี หรือ GSP (more…)

ระบบเอ็นโดแคนนาบินอยด์เกี่ยวข้องอย่างไรกับมะเร็งตับ

ระบบเอ็นโดแคนนาบินอยด์เกี่ยวข้องอย่างไรกับมะเร็งตับ

ระบบเอ็นโดแคนนาบินอยด์เกี่ยวข้องอย่างไรกับมะเร็งตับ

ระบบเอ็นโดแคนนาบินอยด์เกี่ยวข้องอย่างไรกับมะเร็งตับ

ในการศึกษาค้นคว้าพบว่า เมื่อตับเกิดมีเซลล์มะเร็งขึ้น จะมีตัวรับ CB1 เพิ่มขึ้นมากกว่าเดิม และการกระตุ้นของสารเอ็นโดแคนนาบินอยด์ที่ร่างกายผลิตขึ้น เช่น (more…)

THC กับ CBD ทำงานควบคุมซึ่งกันและกัน

THC กับ CBD ทำงานควบคุมซึ่งกันและกัน

THC กับ CBD ทำงานควบคุมซึ่งกันและกัน

THC กับ CBD ทำงานควบคุมซึ่งกันและกัน

หลายท่านสอบถามผมมาว่า จะเลือกใช้ THC เพียวๆ หรือ CBD เพียวๆ ดีกว่ากัน

ผมก็เลยให้ดูข้อมูลบางส่วน

จากภาพประกอบ ผมยกตัวอย่างตัวรับ GPR55 และ ตัวรับ GPR18 ซึ่งเป็นตัวรับที่สารเอ็นโดแคนนาบินอยด์ที่ร่างกายผลิตขึ้นเองสามารถจับได้

และเป็นตัวรับที่สารไฟโตแคนนาบินอยด์ จากกัญชา กัญชง จับได้เช่นกัน

ในตัวรับ GPR 18 สาร THC จะมีบทบาทในการออกฤทธิ์แบบกระตุ้น หรือ Agonist ตามภาพ คือ เครื่องหมายถูกสีน้ำเงิน Agon ย่อมาจาก Agonist แต่สาร CBD จะออกฤทธิ์แบบ ยับยั้ง หรือ Antagonist ตามภาพ คือ เครื่องหมายถูกสีแดง

และสำหรับตัวรับ GPR 55 สาร THC จะมีบทบาทในการออกฤทธิ์แบบกระตุ้น หรือ Agonist ตามภาพ คือ เครื่องหมายถูกสีน้ำเงิน Agon ย่อมาจาก Agonist แต่สาร CBD จะออกฤทธิ์แบบ ยับยั้ง หรือ Antagonist ตามภาพ คือ เครื่องหมายถูกสีแดง

ซึ่งการออกฤทธิ์แบบนี้ ถือว่า เป็นคุณสมบัติที่พิเศษในสารไฟโตแคนนาบินอยด์เกือบร้อยชนิดที่อยู่ในกัญชง กัญชา เพื่อคานฤทธิ์อย่างใดอย่างหนึ่งที่มากเกินไปของกันและกัน

ซึ่งคุณสมบัติแบบนี้ จะไม่ค่อยเป็นที่ชื่นชอบของอุตสาหกรรมยาเคมี เพราะมันยุ่งยาก ใช้ลำบาก วัดผลก็ไม่ง่ายเหมือนยาเคมี แต่ถ้าใช้เป็นมันจะดีกว่าระยะยาวแน่นอน

ฉะนั้น จากคำถามที่ว่า จะใช้สารใดสารหนึ่งเพียวๆดีไหม จากข้อมูลพื้นฐานของวิทยาศาตร์ ผมคิดว่า ไม่น่าจะดีแน่นอน ไม่งั้น เราก็จะใช้มันแบบยาเคมี ยิ่งใช้ ยิ่งสมดุลของร่างกายเสียหาย อาจรักษาโรคที่ป่วยได้ แต่จะได้โรคอีกหลายอย่างแถมมา

คำถามแบบนี้ผมก็เลยเปรียบเทียบไปว่า ก็เหมือนรถที่พี่ขับ พี่จะเลือกเอาคันเร่ง หรือ คันเบรก อย่างใดอย่างหนึ่งในรถ หรือ จะเลือกใช้ทั้งสองไว้ใช้ ในบริบทที่แตกต่างกัน

More Science Less Marketing

ภก.พงษ์ศักดิ์ สง่าศรี

อ้างอิงบางส่วนจาก

A role for L-alpha-lysophosphatidylinositol and GPR55 in the modulation of migration, orientation and polarization of human breast cancer cells. Br. J. Pharmacol. 160, 762–771.

Anandamide exerts its antiproliferative actions on
cholangiocarcinoma by activation of the GPR55 receptor. Lab. Invest. 91,
1007–1017.

Identification of N-arachidonylglycine as the
endogenous ligand for orphan G-protein-coupled receptor GPR18. Biochem. Biophys. Res. Commun. 347, 827–832.

(9)-THC and N-arachidonoyl glycine regulate BV-2 microglial morphology and cytokine
release plasticity: implications for signaling at GPR18. Front. Pharmacol. 4:162.